กิจกรรม 31 มค.-4 กพ. 2554 คะแนน 110 คะแนน




ตอบ2 เพราะว่า น้ำมันเหม็นหืน และทำให้เกิดความหนืด เนื่องจากมีสาร "โพลีเมอร์" เกิดขึ้น ... อุณหภูมิของน้ำมัน และขนาดชิ้นอาหารที่นำลงทอดล้วนมีผลทำให้เกิดการอมน้ำมันมาก น้อย แตกต่างกัน
ส่วนประกอบที่สำคัญของน้ำโซดาและอัดลม คือน้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสมภายใต้ความกดดันสูง จะเป็นน้ำโซดา  หาก ผสมน้ำตาลที่ละลายเป็นน้ำรวมกับเชื้อน้ำหอมที่มกลิ่นและสีต่าง ๆ จะเป็นน้ำอัดลม เช่น สีแดงเป็นกลิ่นสละ และกลิ่นกุหลาบ  สีใส เป็นกลิ่นโซดา  มะนาว  สีดำรสซาซี  สี เหลืองรสสับปะรดขวด ที่บรรจุในระยะเริ่มแรก เป็นขวดมีลูกแก้วปิดแทนฝาจีบ  ความดัน ของน้ำอัดลมจะดันลูกแก้วขึ้นติดกับยางที่ปากขวด  น้ำอัดลมจะคง ความซ่าอยู่ต่อไปจนกว่าจะกดลูกแก้วลง ความดันภายในขวดจะลดลง  ลูก แก้วจะตกไปค้างอยู่ที่คอขวด   ทางโรงงานจะนำขวดไปบรรจุน้ำอัด ลมใหม่  ลูกแก้วจะถูกลมดันไปติดที่ปากขวดดังเดิม  โรง งานจึงใช้ขวดหมุนเวียนไป  แต่การทำความสะอาดขวดในลักษณะที่มี ลูกแก้วเช่นนี้ ไม่สะดวกในการทำความสะอาด  โรงงานบ่านอยู่หลอ งจึงเลิกใช้ขวดแบบลูกแก้ว
เอทธิลีน (C2H4, H2C = CH2) เป็นฮอร์โมนพืชตัวเดียวที่อยู่ในรูปแก๊ส เอทธิลีนเป็นฮอร์โมนที่พืชสร้างขึ้น เพื่อใช้ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาต่างๆ เช่นการออกดอก การสุกของผล พบในธรรมชาติ และในควันไฟประวัติการค้นพบCousins(1910) เป็นคนแรกที่เสนอว่าผลไม้มีการปลดปล่อยแก๊สซึ่งกระตุ้นการสุก เขาพบว่าส้มที่เก็บไว้ร่วมกับกล้วยจะสุกก่อนเวลา (premature)Gane (1934) ชาวอังกฤษได้พิสูจน์ให้เห็นว่า พืชสามารถสร้างเอทธิลีนได้ และเอทธิลีนทำหน้าที่เร่งกระบวนการสุกCrocker et al. (1935) เสนอว่าเอทธิลีนเป็นฮอร์โมนที่ทำให้ผลไม้สุก และทำหน้าที่เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตในต้นพืชด้วยการสังเคราะห์เอทธิลี นเอทธิลีนเป็นแก๊สที่ไม่มีสี มีกลิ่นหอมเล็กน้อย ติดไฟได้ง่าย เอทธิลีนถูกสร้างขึ้นในพืชและในสิ่งมีชีวิตหลายชนิด สารต้นกำเนิดของเอทธิลีนในพืชคือ กรดอะมิโน เมทไธโอนีน โดยมีเอนไซม์ peroxidase เป็นตัวเร่งปฎิกริยา และมี flavin mononucleotide และ ion ของโลหะเป็น co-factor
ตอบ2 เพราะว่าปฏิกิริยา ดูดความร้อน (endothermic  reaction)  เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว  ระบบจะดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อมทำให้อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมเย็นลง  สัมผัสจะรู้สึกเย็น สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องใช้พลังงาน (Energy) ในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การหายใจ  การเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว การขับถ่าย การลำเลียงสาร พลังงานส่วนใหญ่ที่สิ่งมีชีวิตได้จากการสลายสารอาหารด้วยกระบวนการทางเคมี และพลังงานที่ได้เป็นพลังงานเคมี ซึ่งพลังงานเคมีจะเกิดขึ้นได้จะต้องมาจากปฏิกิริยาเคมี
ตอบ4 เพราะว่าฝนกรดจะทำ ปฏิกิริยาเคมีกับวัตถุใด ๆ ที่มันสัมผัส กรดคือสาร เคมีใด ๆ ที่ทำปฏิกิริยากับสารอื่น ๆ โดยจะจ่ายอะตอมไฮโดรเจน (hydrogen: H) ออกไป ความเป็นกรดของสารใด ๆ เกิดจากการที่มีอะตอมไฮโดรเจนอิสระมากมายเกิดขึ้นจากการละลายสารนั้น ๆ ในน้ำ การวัดค่าสารที่เป็นกรดเราใช้มาตรา pH เป็นหน่วยในการวัด โดยจะมีค่าเป็นไปได้ตั้งแต่ 0 ถึง 14 การที่สารใด ๆ นั้นจะเป็นกรดได้ นั้นหมายถึงสารนั้น ๆ จะต้องมีค่า pH ตั้งแต่ 1 ถึง 6 โดยค่ายิ่งน้อยเท่าไหร่ หมายถึงยิ่งเป็นกรดแก่มากเท่านั้น ในทางกลับกัน สารที่มีค่า pH ตั้งแต่ 8 ถึง 14 เราจะเรียกว่าเบส (bases หรือ alkalis) โดยสารเหล่านี้จะทำการรับอะตอมไฮโดรเจนแทน น้ำบริสุทธิ์มีค่า pH เป็น 7 กล่าวคือไม่ได้เป็นกรด และเป็นเบส เราเรียกสารแบบนี้ว่า สารที่เป็นกลาง โดยทั่วไปแล้วถ้าฝน หิมะ หรือหมอกที่มีค่า pH น้อยกว่า 5.6 เราจะถือว่าฝน หิมะ หรือหมอกเหล่านี้เป็นพิษ เมื่อใดก็ตามที่กรดรวมตัวกับเบส เบสจะทำให้ความเป็นกรดลดน้อยลงมาได้ ซึ่งฝนในบรรยากาศปกติจะมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ อยู่แล้ว มักจะทำปฏิกิริยากับเบสอื่น ๆ ในธรรมชาติทำให้เกิดสมดุลขึ้น แต่เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณกรดในบรรยากาศเพิ่มขึ้น จึงทำให้สมดุลตเสียหายไป จึงทำให้เกิดความเสียหายต่าง ๆ กับสภาพแวดล้อมมากมาย ตั้งแต่ดิน น้ำ สัตว์ต่าง ๆ ถึงสิ่งก่อสร้างของมนุษย์เอง
ตอบ1 เพราะว่า
กรด นอกจากจะสามารถทำปฏิกิริยาสะเทินกับเบสได้เกลือกับน้ำ แล้วยังสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด เช่น Zn, Fe, ได้ก๊าซ H 2 และเกลือของโลหะนั้น หรือทำปฏิกิริยากับเกลือคาร์บอนเนต เช่น CaCO 3 , Na 2CO 3 หรือเกลือ NaHCO 3 ได้ก๊าซ CO 2 ตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่าง HCl กับ CaCO 3 จะได้เกลือและก๊าซ CO 2 HCl(aq) + CaCO 3 (s) ---------> CaCl 2 (aq) + CO 2 (g)
เบสก็เช่นเดียวกันนอกจากจะทำปฏิกิริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับน้ำแล้ว ยังสามารถทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียมเช่น NH 4Cl, (NH 4) 2SO 4 , จะได้ก๊าซ NH 3 หรือทำปฏิกิริยากับเกลือ เช่นปฏิกิริยาระหว่าง NaOH กับ FeCl 3 ได้สารผลิตภัณฑ์ดังนี้
3NaOH (aq) + FeCl 3 (aq) ---------> Fe(OH) 2 (s) + 3NaCl (aq)
  ดังนั้น จะเห็นได้ว่ากรดและเบสทำปฏิกิริยากันเองได้ และทั้งกรดและเบสก็สามารถทำปฏิกิริยากับสาอื่น
ตอบ2 เพราะว่าไอโซโทป (Isotope) หมายถึงอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีโปรตอนเท่ากัน(หรืออิเล็กตรอนเท่ากัน )แต่มีเลขมวลและจำนวนนิวตรอนต่างกัน(หรือมีมวลต่างกัน)อะตอมของธาตุชนิด เดียวกันจะมีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนอาจจะไม่เท่ากันก็ได้ ซึ่งมีผลทำให้มวลต่างกันอะตอมของธาตุดังกล่าวเรียกว่าเป็นไอโซโทป เช่น 12C,13C และ 14C เป็นไอโซโทปกัน (เลขอะตอม C = 6 ) สัญลักษณ์นิวเคลียร์จำนวนอิเล็กตรอนจำนวนโปรตอนจำนวนนิวตรอนไอโซโทปของธาตุ บางชนิดอาจจะมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ เช่น ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป และมีชื่อเฉพาะดังนี้
11H เรียกว่า โปรเตรียม ใช้สัญลักษณ์ H
21H เรียกว่า ดิวทีเรียม ใช้สัญลักษณ์ D
31H เรียกว่า ตริเตรียม ใช้สัญลักษณ์ T
ตอบ4 เพราะว่า วา เลนซ์อิเล็กตรอน (อังกฤษ:valance electrons) ในทาง วิชาเคมี คือ อิเล็กตรอน ที่อยู่ในวงโคจรของ อิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดของอะตอม อิเล็กตรอน เหล่านี้จะมีส่วนร่วมใน ปฏิกิริยา เคมี ด้วย ธาตุที่มีอิเล็กตรอน ชั้นนอกสุดเต็มมักจะไม่ไวต่อปฏิกิริยา ส่วนธาตุที่มี อิเล็กตรอน ชั้นนอกสุเกือบเต็มหรือเกือบว่างเช่นโลหะอะคาไล และ ฮาโลเจน จะมีความไวต่อปฏิกิริยา
ตอบ3 เพราะว่าเราสามารถ ตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายได้ด้วยอินดิเคเตอร์ ซึ่งเป็นสารทีใช้บอกสมบัติบางอย่างในปฏิกิริยาเคมี โดยการเปลี่ยนสีหรือการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางอย่างที่มองเห็ได้ สารที่นำมาใช้ในการตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายต่างๆ เรียกว่า " อินดิเคเตอรสำหรับกรด-เบส (acid-base indicator)"
อินดิเคเตอร์ (indicator) คือ สารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH) ได้ เนื่องจากสารละลายที่เป็นกรดจะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่าสารละ ลายทเป็นเบสกรดเป็นสารประกอบไฮโดรเจน เมื่อละลายอยู่ในน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออน
เบสเป็นไฮดรอกไซด์ของโลหะหรืออนุมูลที่มีค่าเทียบเท่าโลหะ ซึ่งเมื่อละลายอยู่ในน้ำจะแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน
อินดิเคเตอร์แต่ละชนิดจะมีการตรวจสอบความเป็นกรด-เบสของสารละลายแตกต่างกัน อินดิเคเตอร์ที่นิยมใช้กันมากมี 2 ประเภท คือ กระดาษลิตมัสและยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
ตอบ4 เพระ จากลักษณะการ สร้างพันธะไอออนิกซึ่งมีแรงยึดเหนี่ยวต่อเนื่องกันเป็นผลึก และลักษณอะตอมของธาตุที่มีประจุเป็นไอออนบวกและไอออนลบรวมกันอยู่  ส่งผลให้สารประกอบไอออกมสมบัติต่าง ๆ ดังนี้
     1.  สารประกอบไอออนิกจะมีจุดหลอมเหวและจุดเดือดที่สูง เนื่องจากพันธะไอออนิกเกิดจากแรงยึดเหนี่ยวของประจุไฟฟ้าซึ่งมีความแข็งแรง สูง ยากต่อการทำให้แยกออกจากกัน อีกทั้งยังมีลักษณะการยึดเหนี่ยวที่ต่อเนื่องกันผลึก การที่จะทำให้สารประกอบไอออนิกเปลี่ยนสถานะจึงต้องอาศัยพลังงานจำนวนมากใน การทำลายแรงยึดเหนี่ยว ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดที่สูงกว่าสารประกอบโค เวเลนต์
     2.  สมบัติที่สำคัญอีกประการของสารประกอบไอออนิก คือ เมื่อเป็นของแข็งจะไม่นำไฟฟ้า แต่จะนำไฟฟ้าได้ดีเมื่ออยู่ในสถานะของเหลวหรือเมื่ออยุ่ในสภาพของสารละลาย เนื่องจากในสถานะของแข็งไอออนต่าง ๆ ซึ่งมีประจุไฟฟ้าจะถูกยึดเหนี่ยวกันอย่างเหนียวแน่น แต่เมื่อนำไปหลอมเหลวหรืไลลน้ำ โครงผลึกจะหลุดออกเสียสภาพไปทำให้ไอออนสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ สารประกอบไอออนิกจึสามารถนำไฟฟ้าได้
 สาร ประกอบโคเวเลนต์ มีสมบัติดังนี้
           1. มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เช่น
                 - สถานะของเหลว เช่น น้ำ  เอทานอล  เฮก เซน 
                - สถานะของแข็ง เช่น น้ำตาลทราย (C12H22O11), แนพทาลีนหรือลูกเหม็น (C10H8)
                 - สถานะแก๊ส เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), แก๊สมีเทน (CH4), แก๊สโพรเพน (C3H8)
          2. มีจุดหลอมเหลวต่ำ หลอมเหลวง่าย
          3. มีทั้งละลายน้ำและไม่ละลายน้ำ เช่น เอทานอลละลายน้ำ แต่เฮกเซนไม่ละลายน้ำ
          4. สารประกอบโคเวเลนต์ไม่นำไฟฟ้า เนื่องจากอยู่เป็นโมเลกุล  และโมเลกุลเป็นกลาง   เมื่อละลายน้ำจะไม่นำไฟฟ้า แสดงว่า
อยู่เป็นโมเลกุลไม่แตกตัวเป็นไอออน

ตอบ 0.3g/min
ตอบ 5วัน
ตอบ 50วินาที